กลับ

โครงการประชารัฐ SJI ปลูกกล้วยช่วยช้าง 

1. หลักการและเหตุผล 

ด้วยจิตสำนึกแห่งควำมรับผิดชอบต่อสังคมเป็นเรื่องสำคัญที่บริษทั้งให้ความสำคัญมาโดยตลอด ต้ังแต่การกำหนด นโยบายกำจัดต้ังคณะทำ งาน การกำหนดทิศทางการดำ เนินกิจกรรมที่สอดคลอ้งและครอบคลุมท้ังในด้านของเด็กเยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส การช่วยเหลือด้านศำสนกุศลต่างๆ ท้ังน้ียังรวมไปถึงโครงการช่วยเหลือ ดูแลรักษำสัตว์ทั้งสัตว์เล็กสัตว์ใหญ่ โดยเฉพาะช้าง ซึ่งถือว่าเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองและเป็นเอกลกัษณ์ของชาติไทยมำตั้งแต่โบราณโดยได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์ ช้าง ติดต่อกันมานานกว่า 10 ปี ภายใต้สโลแกน “ ช้างหิว ช้างป่วย ผู้ช่วยคือ เอส แอนด์ เจ” 

โดยเริ่มต้น จากโครงการอนุรักษช้างศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย บริษัท เอส แอนด์เจฯ ได้สร้างคลีนิคช้างเพื่อทำ การรักษา ช้ำงและสัตว์ต่างๆ ที่เจ็บป่วยหรือได้รับบำบัดเจ็บเบื้องต้น ก่อนส่งไปรักษาในโรงพยาบาลสัตว์และในอีก 2 ปี ต่อมาบริษัท เอส  แอนด์เจฯ ได้จัดสร้างคลีนิตช้างแห่งที่2ข้ึน ณ.บ้านชรา จ.กาญจนบุรี ซึ่งมีช้างในการดูแลมากกว่า 20 เชือก ต่อมาในปี 2559  เราได้ขยายโครงการช้างไปยังจังหวัดตาก โดยสร้างสถานีอนามัยช้างที่ อ.แม่สอด จ.ตาก เพื่อดูแลช้างใน 5 อำเภอ จำนวนกว่า 200  เชือก

และในปัจจุบันบริษัทฯ ได้นำช้างเข้าร่วมในโครงการโลกของช้ำง ซึ่งอยู่ในความดูแลของศูนย์คชศึกษำ อ.ท่าตูม จ. สุรินทร์ จำนวน 3 เชือก เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.2563 ที่ผ่านมา เพื่อเป็นการสานต่อกิจกรรมดีๆ ที่ช่วยเหลือช้างในโครงการให้มี ความเป็นอยู่ที่ดี บริษัทฯจึงจัดให้มีโครงการประชารัฐ SJI ปลูกกล้วยช่วยช้างข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ช้างมีแหล่งอาหารที่ดี และเพียงพอตลอดท้ังปีด้วยกิจกรรมการปลูกกล้วยและ หญ้าเนเปีย บนพื้นที่ 20 ไร่ ของศูนย์คชศึกษา บ้านตำกลาง ตำบลกระโพ อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งเป็นการรวมตัวของ 3 ภาคเครือข่าย ประกอบด้วย ภาครัฐ คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุรินทร์  ภาคเอกชน คือ บมจ.เอสแอนด์เจอินเตอร์เนชนั่ แนลเอนเตอร์ไพรส์และภำคชุมชนคือชุมชนบ้านตำกลำงอำ เภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 

2.วัตถุประสงค์ 

1.เพื่อส่งเสริมสนับสนุนอาหารแก่ช้างที่อยู่ในศูนย์ศึกษา 

2.เพื่อสนับสนุนให้ช้างมีคุณภาพชีวิตและสุขภาพที่ดี 

3.เพื่อสร้างสำนึกและการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ช้างไทย 

3. กลุ่มเป้าหมาย

พนักงานบริษัท

4. ระยะเวลา 

วันที่ 22 กรกฎาคม 2564

5. สถานที่ด าเนินการ 

ณ โครงการโลกของช้าง ศูนย์คชศึกษา ต.กระโพ อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์

6. การประเมินผลโครงการ 

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ 85%

7. งบประมาณ 

150,000 บาท (หนึ่งแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) 

สรุปค่าใช้จ่าย บนพื้นที่20 ไร่
ลำดับ  รายการ  ราคา/หน่วย  จ านวน  หน่วยนับ  ค่าใช้จ่าย
หญ้าเนเปี ย  1,500  80 ตัน  120,000
หน่อกล้วย  35  1020 หน่อ  35,700
ข้าวกล่อง  50  100 ชุด  5,000
ป้ายไวนิล3 ป้ำย  10,000  10,000
เครื่องไหว้เส้นศาลปะกา  2000  1 ชุด  2,000
รวมค่าใช้จ่าย 172,700 

โดยโครงการประชารัฐSJI ปลูกกล้วยช่วยช้าง ปลูกบนพื้นที่20ไร่ ซึ่งครอบคลุมช้างที่อยู่ในความดูแลของศูนย์คชศึกษาจำนวน 82 เชือกโดยพื้นที่แต่ละแปลงจะมีควาญช้างของช้างแต่ละเชือกเป็นผู้ดูแล ซึ่งลักษณะการปลูกคือ พื้นที่ส่วนกลางจะปลูก หญ้าเนเปียพื้นที่บริเวณรอบๆจะปลูกต้นกล้วย 

หมายเหตุหลังจากจบโครงการทาง อบจ.สุรินทร์ จะมีการส่งรายงานผลความคืบหน้าของการปลูกในแต่ละแปลงให้ทางบริษัท

Notice: Undefined offset: -1 in /www/wp-content/themes/sjith/single-csr.php on line 78

การใช้คุกกี้

การใช้คุกกี้

เว็บไซต์นี้มีการจัดเก็บ Cookies ที่มีความจำเป็นสำหรับการใช้งาน ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเก็บ ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบริษัทฯ ได้ที่ นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล